Sunday, 31 July 2022

My mapping idea | การเรียนรู้, การบันทึก, การจัดระเบียบสมุดบันทึก

Worksheet

เซต (Sets) by 1. การเขียนแผนภาพแทนเซต ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน คอมพลีเมนต์ และผลต่าง 1. 1. ยูเนียน คือ เซต A ยูเนียนกับเซต B คือเซตซึ่งประกอบไปด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเซต A หรือ เซต B หรือทั้ง A และ B สามารถเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ A U B 1. 2. อินเตอร์เซกชัน คือ เซต A อินเตอร์เซกชันเซต B คือ เซตซึ่งประกอบไปด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเซต A และ เซต B สามารถเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ A ∩ B 1. 3. คอมพลีเมนต์ คือ ถ้าเซต A ใดๆ ในเอกภพสัมพัทธ์ U แล้วคอมพลีเมนต์ของเซต A คือ เซตที่ประกอบไปด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของ U แต่ไม่เป็นสมาชิกของ A สามารถเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ A' 1. 4. ผลต่าง คือ ถ้าเซต A และเซต B เป็นเซตใดๆในเอกภพสัมพัทธ์ U เดียวกันแล้ว ผลต่างของเซต A และ B คือเซตซึ่งประกอบไปด้วยสมาชิกของเซต A แต่ไม่เป็นสมาชิกของเซต B สามารถเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ A-B 2. สับเซต และเพาเวอร์เซต 2. สับเซต คือ เซต A เป็นสับเซตของเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของเซต A เป็นสมาชิกของเซต B สามารถเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ A C B 2. เพาเวอร์เซต คือ เพาเวอร์เซตของ A คือ เซตที่ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสับเซตทั้งหมดของเซต A และสามารถเขียนด้วยสัญลักษณ์ P(A) 3.

  • Mind map เซต co
  • บ้าน ทาวน์โฮม คอนโดใหม่ 2559 2016: พฤษภาคม 2017
  • Drotaverine hcl คือ
  • แอตมาดริด ยักษ์ใหญ่ตามหลังเรอัลมาดริด 4 แต้ม แอต มาดริด จะทำอย่างไรต่อ
  • Product description คือ
  • Mind map เซต song
  • Mind map เซต definition
  • Mind map เซต art
  • โน้ตของ สรุปเซตม.4 ชั้น - Clear | สมุดคณิตศาสตร์, สื่อการสอนคณิตศาสตร์, ศึกษา
  • Mind map เซต worksheet

Images

แผนภาพเวน-ออยเลอร์ 7. สมบัติต่างๆ 8. โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเซต 9. ชนิดของเซต 9. เซตว่าง 9. เป็นเซตที่ไม่มีสมาชิกเลย 9. สัญลักษณ์ " {} " 9. เซตจำกัด 9. เป็นเซตที่สามารถบอกจำนวนของสมาชิกได้ 9. เช่น A={1, 2, 3, 4, 5} สามารถบอกได้ว่าเซตA มีจำนวนสมาชิกเท่ากับ 5 9. เซตอนันต์ 9. เป็นเซตที่ไม่สามารถบอกจำนวนสมาชิกได้ 9. เช่น A={1, 2, 3, 4, 5, 6,......... } 10. ความสัมพันธ์ระหว่างเซต 10. เซตที่เท่ากัน 10. สมาชิกในแต่ละเซตต้องเหมือนกันทุกตัว *เขียนสลับที่กันได้* 10. เช่น A={1, 2, 3} และ B={3, 1, 2} ดังนั้น A=B 10. เซตที่เทียบเท่ากัน 10. จำนวนสมาชิกในแต่ละเซตต้องเท่ากัน *ไม่จำเป็นต้องเหมือนกัน* 10. เช่น A={1, 2, 3} และ B={4, 5, 6} จะเห็นว่าจำนวนสมาชิกของเซตA และB เท่ากันนั่นคือ 3 ดังนั้น เซตA เทียบเท่าเซต B

mind map เซต download

Symbol

mind map เซต co

Image

mind map เซต worksheet

โน้ตของ สรุปเซตม. 4 ชั้น - Clear | สมุดคณิตศาสตร์, สื่อการสอนคณิตศาสตร์, ศึกษา

Singapore

{"ad_unit_id":"App_Resource_Sidebar_Upper", "resource":{"id":3352604, "author_id":1715919, "title":"เซต", "created_at":"2015-09-03T01:52:23Z", "updated_at":"2016-12-16T00:31:50Z", "sample":false, "description":"ผลงานของ นายสุรสิทธิ์ สาดแล่น เลขที่ 8 ม.
ใส่ความเห็น Enter your comment here... Fill in your details below or click an icon to log in: อีเมล (ต้องการ) (Address never made public) ชื่อ (ต้องการ) เว็บไซต์ You are commenting using your account. ( Log Out / เปลี่ยนแปลง) You are commenting using your Google account. You are commenting using your Twitter account. You are commenting using your Facebook account. ยกเลิก Connecting to%s Notify me of new comments via email. Notify me of new posts via email.

เซต by 1. กล่าวถึง 1. 1. กลุ่มของสิ่งต่างๆ สามารถบอกได้แน่นอนว่ามีสิ่งนั้นอยู่ในกลุ่ม หรือไม่อยู่ในกลุ่ม 2. การเขียนเซต 2. สิ่งที่อยู่ในเซตเรียกว่า "สมาชิก" 2. 2. เขียนสมาชิกอยู่ในวงเล็บปีกกา {} 2. 3. สมาชิกแต่ละตัวคั่นด้วยเครื่องหมาย "คอมม่า" 2. 4. เช่น {1, 2, 3, 4, 5} อ่านว่า เซตของหนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า 2. 5. วิธีการเขียนมี 2 แบบ 2. แบบแจกแจงสมาชิก 2. เช่น N เป็นเซตของจำนวนนับ เขียนได้ว่า N= {1, 2, 3, 4,........ } 2. แบบเงื่อนไข 2. เช่น A={a, e, i, o, u} เขียนแบบบอกเงื่อนไขเป็น A={xlx เป็นสระในภาษาอังกฤษ} 3. การกระทำระหว่างเซต 3. พูดง่ายๆคือการสร้างเซตใหม่ ซึ่งมี 4 วิธี 3. ยูเนียน 3. เอาสมาชิกของแต่ละเซตมาเขียนรวมกัน (ถ้ามีตัวซ้ำให้เขียนเพียงครั้งเดียว!! ) 3. สัญลักษณ์ "∪" 3. เช่น ให้ A= {1, 3, 5, 7} และ B = {-5, -2, 5, 7} A∪B={1, 3, 5, 7, -5, -2} 3. อินเตอร์เซคชัน 3. เอาเฉพาะสมาชิกที่ซ้ำกันของแต่ละเซตมาเขียน 3. สัญลักษณ์ "∩" 3. เช่น ให้ A= {1, 3, 5, 7} และ B = {-5, -2, 5, 7} A∩B={5, 7} 3. ผลต่าง 3. เอาสมาชิกของเซตสองเซตมาลบกัน *** สนใจตัวตั้งเป็นหลัก (ตัวตั้งคือตัวที่อยู่ข้างหน้าเครื่องหมายลบ) 3.

เซตจำกัด เซตอนันต์ เซตที่เท่ากัน เซตว่าง และเอกภพสัมพัทธ์ 3. เซต หมายถึง กลุ่มคน สัตว์ สิ่งของต่างหรือนิพจน์ทางคณิตศาสตร์ ซึ่งสามารถระบุสมาชิกในกลุ่มได้และเรียกสมาชิกในกลุ่มว่า"สมาชิกของเซต" 3. เซตจำกัด คือ เซตที่สามารถระบุจำนวนสมาชิกได้ 3. เซตอนันต์ คือ เซตที่มีจำนวนสมาชิกมากมายนับไม่ถ้วน 3. New node 3. เซตที่เท่ากัน คือ เซต A และเซต B จะเป็นเซตที่เท่ากันก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของเซต A เป็นสมาชิกของเซต B และสมาชิกทุกตัวของเซต B เป็นสมาชิกของเซต A สามารถเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ A=B 3. เอกภพสัมพัทธ์ คือ เซตที่ประกอบไปด้วยสมาชิกทั้งหมดของสิ่งที่เราต้องการจะศึกษาสามารถเขีนยแทนด้วยสัญลักษณ์ u 3. 5. เซตว่าง คือ เซตที่ไม่มีสมาชิกหรือจำนวนสมาชิกเป็นศุนย์สามารถเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ {} 4. จำนวนสมาชิกของเซตจำกัด 4. ถ้า A เป็นเซตจำกัดแล้ว สามารถเขียนแทนจำนวนสมาชิกของเซต A ด้วย n(A) n(A ∪ B) = n(A) + n(B) - n(A ∩ B) n(A - B) = n(A) - n(A ∩ B) n(B - A) = n(B) - n(A ∩ B) 4. ถ้า A, B และ C เป็นเซตจำกัดที่อยู่ในเอกภพสัมพัทธ์ U แล้ว n(A ∪ B ∪ C) = n(A) + n(B) + n(C) - n(A ∩ B) - n(A ∩ C) - n(B ∩ C) + n(A ∩ B ∩C) 4.

สัญลักษณ์ " - " 3. เช่น ให้ A= {1, 3, 5, 7} และ B = {-5, -2, 5, 7} 3. หา A-B 3. โดยดูสมาชิกในเซตA ว่ามีตัวไหนซ้ำกับสมาชิกในเซตB บ้าง ถ้ามีให้ตัดออก จะได้ A-B={1, 3} 3. หา B-A 3. โดยดูสมาชิกในเซตB ว่ามีตัวไหนซ้ำกับสมาชิกในเซตA บ้าง ถ้ามีให้ตัดออก จะได้ B-A={-5, -2} 3. คอมพลีเมนท์ 3. ไม่เอาสมาชิกที่อยู่ในเซตนั้น 3. สัญลักษณ์ " ' " 3. A' อ่านว่า A คอมพลีเมนท์ (หมายถึงเซตของอะไรก็ได้ที่ไม่ใช่เซต A) 3. เอกภพสัมพัทธ์ 3. ขอบเขตที่เรากำลังพูดถึง สัญลักษณ์คือ "U" 3. เช่น ให้ U={-3, -2, -1, 0, 1, 2, 3} และ A={-3, 1, 2} A'={-2, -1, 0, 3} 4. สับเซต 4. การเขียนสับเซต 4. ดึงสมาชิกที่อยู่ในเซตแต่ละตัวมาเขียน แล้วใส่ปีกกาคลุมหัวท้าย 4. จับคู่สมาชิกให้ครบทุกคู่ แล้วใส่ปีกกาคุลมหัวท้าย 4. อย่าลืม เซตว่าง!! (*เซตว่างเป็นสับเซตของเซตทุกเซต*) 4. เช่น A={1, 2, 3} จะได้สับเซตA = {1}, {2}, {3}, {1, 2}, {1, 3}, {2, 3}, {1, 2, 3}, {} 5. เพาเวอร์เซต 5. คือเซตของสับเซต 5. การเขียนเพาเวอร์เซต 5. เขียนสับเซตออกมาก่อน แล้วใส่ปีกกาคลุมหัวท้ายอีกที 5. สัญลักษณ์ "P(A)" อ่านว่า เพาเวอร์เซตของ A 5. ช่น A={1, 2, 3} จะได้ P(A)={{1}, {2}, {3}, {1, 2}, {1, 3}, {2, 3}, {1, 2, 3}, {}} 6.