Sunday, 31 July 2022

51 คือ กรณีประมาณการกำไรสุทธิขาดไปเกินกว่า 25% แล้วต้องเสียเงินเพิ่ม 20% ของภาษีที่คำนวณจากประมาณการกำไรสุทธิที่ได้ประมาณการขาดไป ตัวอย่างเช่น สมมติบริษัทแห่งหนึ่งยื่นแบบ ภ. 51 แสดงประมาณการกำไรสุทธิทั้งปีไว้เป็นเงิน 700, 000 บาท (ต้องเสียภาษีทั้งปี 140, 000 บาท) เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปีไว้เป็นเงิน 70, 000 บาท เมื่อสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี ปรากฏว่าบริษัทฯ มีกำไรสุทธิทางภาษีอากรตามแบบ ภ. 50 เป็นเงิน 1, 000, 000 บาท (ต้องเสียภาษีทั้งปี 200, 000 บาท) เท่ากับบริษัทฯ ประมาณการกำไรสุทธิขาดไป คิดเป็น (300, 000 X 100 หาร 1, 000, 000) = 30. 0% โดยไม่มีเหตุอันสมควร บริษัทฯ ต้องรับผิดเสียเงินเพิ่มในอัตรา 20% ของเงินภาษีภาษี ที่ชำระไว้ขาด โดยคำนวณ ดังนี้ นำกึ่งหนึ่งของภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ต้องชำระตามแบบ ภ. 50 คือ 100, 000 บาท หัก ด้วยภาษีเงินได้นิติบุคคลที่คำนวณได้ตามแบบ ภ. 51 จำนวน 70, 000 บาท ได้เป็นเงิน 30, 000 บาท ดังนั้น เงินเพิ่มตามมาตรา 67 ตรี แห่งประมวลรัษฎากรคิดเป็นเงิน (30, 000 x 20%) = 6, 000 บาท ดังนั้นเพื่อป้องกันไม่ให้ต้องเสียเงินเพิ่มโดยใช่เหตุ หลายบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลได้จัดทำประมาณการกำไรสุทธิและยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีครึ่งปีไว้ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ได้ยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลในรอบระยะเวลาบัญชีที่แล้ว ซึ่งกรมสรรพากรให้ถือว่าเป็นกรณีมีเหตุอันสมควรตามคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.

รู้ไว้...ไม่พลาดภาษีนิติบุคคล - Wealth Me Up

ศ. 2530 บัณฑิต บุณยะปานะ อธิบดีกรมสรรพากร

1 รายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ ผลิตผล หรือการให้บริการตามโครงการที่ได้รับการส่งเสริมไม่เกินปริมาณการผลิตต่อปี หรือไม่เกินขนาดของกิจการที่ให้บริการตามที่ระบุไว้ในบัตรส่งเสริม 2. 2 รายได้จากการจำหน่ายผลพลอยได้และสินค้ากึ่งสำเร็จรูปตามชนิดและปริมาณตามที่ระบุไว้ในบัตรส่งเสริม 2. 3 รายได้จากการจำหน่ายเครื่องจักร ส่วนประกอบ อุปกรณ์เครื่องมือ เครื่องใช้และทรัพย์สิน บรรดาที่ใช้ในการประกอบกิจการตามโครงการที่ได้รับการส่งเสริมและหมดสภาพหรือไม่เหมาะสมที่จะใช้งานต่อไป ทั้งนี้ ตามที่ได้รับความเห็นชอบจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนและกรมสรรพากร กรณีเครื่องจักร ส่วนประกอบ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้และทรัพย์สินตามวรรคหนึ่งได้ใช้ในกิจการที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลด้วย ให้เฉลี่ยรายได้ตามวรรคหนึ่งตามส่วนของรายได้จากกิจการ ที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลและกิจการที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 2.

51 เพื่อเสียภาษีเงินได้ครึ่งรอบระยะเวลาบัญชี 3 ตัวอย่างการประมาณการกำไรเพื่อเสียภาษีครึ่งรอบระยะเวลาบัญชี ในช่วง 6 เดือนแรก บริษัท A ซึ่งเป็นบริษัทจำกัดทั่วไป มีรายรับ ฿500, 000 และมีรายจ่าย ฿400, 000 บริษัท A คาดการณ์ว่าตลอดทั้ง 12 เดือน ตนจะมีรายรับ ฿1, 000, 000 และมีรายจ่าย ฿900, 000 จึงประมาณการกำไรสุทธิตลอดทั้งปีได้ ฿100, 000 (ประมาณราบรับ ฿1, 000, 000 – ประมาณการรายจ่าย ฿900, 000) เมื่อถึงเวลาต้องยื่นภาษีครึ่งปี (ภ.

การ คิด ภาษีเงินได้ นิติบุคคล มีอะไรบ้าง
  • ภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับการจำหน่ายกำไรไปนอกประเทศ | กรมสรรพากร - The Revenue Department (rd.go.th)
  • ลายสักแขนผู้หญิง ลายสักแขนเท่ๆ สวยๆ สำหรับผู้หญิง - รอยสัก
  • รู้ไว้...ไม่พลาดภาษีนิติบุคคล - Wealth Me Up
  • การคำนวณกำไร/ขาดทุนสุทธิของกิจการ BOI | กรมสรรพากร - The Revenue Department (rd.go.th)
  • ประมาณการกําไรสุทธิ (ภาษีเงินได้นิติบุคคล) - iTAX pedia
  • Face off พากย์ ไทย full
การ คิด ภาษีเงินได้ นิติบุคคล ภาษาอังกฤษ