Wednesday, 3 August 2022

มะยงชิดใบไหม้ มะปรางใบไหม้ ใบจุด ราสนิม แอนแทรคโนส โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู โตไว ผลผลิตดี มะยงชิดใบไหม้ มะปรางใบไหม้ ใบจุด ราสนิม แอนแทรคโนส โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู โตไว ผลผลิตดี โรคแอนแทรคโนส ในมะปราง มะยงชิด เกิดจาก เชื้อรา Colletotrichum sp. และเชื้อราอื่นๆ ที่เป็นต้นเหตุของโรค ที่พบใน มะยงชิด มะปรางหวาน และพืชในตระกูลเดียวกัน ได้แก่โรคใบไหม้ ราดำ (ราดำอาจจะเป็นต่อเนื่องจาก เพลี้ยเข้าทำลายและถ่ายของเหลวไว้ ทำให้ราดำเกาะและลุกลามได้ง่าย) อาการมะยงชิดก้านจุด มะยงชิดใบจุด ก็มีสาเหตุจากเชื้อราเช่นกัน การป้องกันกำจัด โรคราต่างๆ 1. หมั่นตรวจสอบแปลงและป้องกันกำจัดตั้งแต่เริ่มพบโรค 2. กำจัดวัชพืช 3. งดให้น้ำในช่วงเย็น 4. ฉีดพ่น ไอเอส และ FK-1 ในอัตราส่วนที่แนะนำ สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้ ไอเอส ใช้ได้กับพืชทุกชนิด ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันกำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น โรคใบไหม้ ใบจุดสีน้ำตาล กิ่งแห้ง โรคใบติด โรคราน้ำค้าง ราสนิม แอนแทรคโนส ไฟธอปโทร่า หรือ โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ไอเอส หยุดโรค และ FK-1 ธาตุหลัก N-P-K ธาตุรอง ธาตุเสริม Mg_ Zn สำหรับบำรุงให้แข็งแรง โตไว ผลผลิตดี สร้างภูมิคุ้มกันโรค ตัวอย่างเชื้อรา สาเหตุโรคพืชต่างๆ #Pyricularia_oryzae สาเหตุ โรคไหม้คอรวง ข้าวเน่าคอรวง #Phytophthora_spp.

  1. ข่าวล่าสุด ข่าวด่วน ข่าวเด่นวันนี้ ข่าวไทยรัฐ -
  2. พืชผักตระกูลกะหล่ำเฝ้าระวังหนอนกระทู้ผักและด้วงหมัดผัก | ThaiPR.NET
  3. เว็บบอร์ด - บ้านและสวน : Inspired by LnwShop.com
  4. [บ้านและสวน] มารู้จักสูตรสมุนไพรไล่แมลง ป้องกันศัตรูพืชที่ระบาดหนักในช่วงฤดูร้อนกันเถอะ
  5. วิธีป้องกันหนอนชอนใบมะนาว ช่วงแตกใบอ่อน ให้ได้ผล I เกษตรปลอดสารพิษ | สรุปข้อมูลที่เกี่ยวข้องกําจัด หนอนชอนใบมะนาว ชีวภาพที่สมบูรณ์ที่สุด
  6. หนอนชอนใบส้ม
  7. หนอนชอนใบ

ข่าวล่าสุด ข่าวด่วน ข่าวเด่นวันนี้ ข่าวไทยรัฐ -

การขาดแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis). - ขาดธาตุ สังกะสี (พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะขาดสังกะสี) ธาตุสังกะสี [Zn] เป็นส่วนสำคัญสำหรับเอนไซม์หลายชนิดและเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการถอดรหัสพันธุกรรม (DNA transcription). การขาดสังกะสี โดยทั่วไปแล้วจะทำให้การเติบโตของใบชะงักงัน การฉีดพ่น FK-1 ที่มีครบทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม จึงช่วยบำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต การแตกยอด ใบ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ตลอดจนผลผลิตที่ดีขึ้น ☎โทร 090-592-8614 🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์.. 🎖สั่งซื้อผ่านหน้าเว็บฟาร์มเกษตรโดยตรง (เลือกแยกซื้อได้).. 🎗ซื้อกับ Shopee.. 🎗ซื้อกับ Lazada.. อ่าน:1866

พืชผักตระกูลกะหล่ำเฝ้าระวังหนอนกระทู้ผักและด้วงหมัดผัก | ThaiPR.NET

การตัดแต่งกิ่ง เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่มีการตัดแต่งกิ่ง และมีบางรายมีการตัดแต่งกิ่งแห้ง กิ่งที่เป็นโรคแมลงเข้า ทําลาย และกิ่งที่ไม่สมบูรณ์ออก 5. การป้องกันกำจัดโรคและแมลง โรคที่พบการเข้าทำลายในแปลงจะพบโรคราดำ โรคราขาว และราสีชมพู แต่เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่มีการป้องกัน กําจัด และมีเกษตรกรบางรายป้องกันกำจัดโดยใช้วิธีกล ชีววิธี และฉีดพ่นสารเคมี ส่วนแมลงที่พบในแปลงจะพบผีเสื้อมวนหวาน แมลงวัน ทอง และหนอนชอนเปลือก การป้องกันกําจัดแมลงส่วนใหญ่ จะไม่มีการป้องกัน และมีบางรายป้องกันกำจัดโดยใช้น้ำหมัก ชีวภาพ กับน้ำหนัก พด. น้ำส้มควันไม้ และใช้สารล่อแมลง การจัดการในระยะติดผล เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่มีการตัดแต่งดอก และเกษตรกรที่ทำสวนลางสาดไม่มีการใช้สารกระตุ้นการออกดอก ไม่มีการตัดแต่งผลและไม่มีการห่อผล 6.

เว็บบอร์ด - บ้านและสวน : Inspired by LnwShop.com

อ้างอิง: ยุพา สุวิเชียร; น. ส. พ. กสิกร กรมวิชาการเกษตร

[บ้านและสวน] มารู้จักสูตรสมุนไพรไล่แมลง ป้องกันศัตรูพืชที่ระบาดหนักในช่วงฤดูร้อนกันเถอะ

หนอนชอนใบส้ม

วิธีป้องกันหนอนชอนใบมะนาว ช่วงแตกใบอ่อน ให้ได้ผล I เกษตรปลอดสารพิษ | สรุปข้อมูลที่เกี่ยวข้องกําจัด หนอนชอนใบมะนาว ชีวภาพที่สมบูรณ์ที่สุด

หนอนชอนใบ

หนอนชอนใบส้ม

หมั่นตรวจสอบแปลงและป้องกันกำจัดตั้งแต่เริ่มพบโรค 2. กำจัดวัชพืชในโรงเรือนและรอบโรงเรือน 3. งดให้น้ำในช่วงเย็น 4.

หนอนชอนใบ

การขาดแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis). - ขาดธาตุ สังกะสี (พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะขาดสังกะสี) ธาตุสังกะสี [Zn] เป็นส่วนสำคัญสำหรับเอนไซม์หลายชนิดและเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการถอดรหัสพันธุกรรม (DNA transcription). การขาดสังกะสี โดยทั่วไปแล้วจะทำให้การเติบโตของใบชะงักงัน การฉีดพ่น FK-1 ที่มีครบทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม จึงช่วยบำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต การแตกยอด ใบ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ตลอดจนผลผลิตที่ดีขึ้น อ่าน:1803

#Sclerotium_spp. สาเหตุ โรครากเน่า โคนเน่า #Capnodium_sp. #Meliola_sp. สาเหตุ โรคราดำ #Maravaria_pterocarpi (ราสนิมพะยูง) #Olivea_teetonae (ราสนิมสัก) #Cercospora_sp. #Macrophoma_sp. สาเหตุ โรคใบจุด #Alternaria_sp. #Phyllachora_sp. สาเหตุ โรคใบจุดนูนดำ #Pestalotropsis_sp. สาเหตุ โรคใบไหม้ #Oidium_sp. #Uncinula_tectonas สาเหตุ โรคราแป้ง #Verticillium_sp. #Fumsarium_spp. #Selerotium_sp.

  • ปลูกต้นมะเขือเทศ ระวังหนอนแมลงวันชอนใบ โรคเหี่ยวเขียว
  • พืชผักตระกูลกะหล่ำเฝ้าระวังหนอนกระทู้ผักและด้วงหมัดผัก – กรมวิชาการเกษตร
  • ลางสาดลับแล ผลไม้ของอุตรดิตถ์ รสชาติหอมหวาน วิธีปลูก

5 ช้อนแกง) ปุ๋ยเกล็ดสูตร 15 - 30 - 15 จำนวน 20 กรัม (1. 5 ช้อนแกง) โดยผสมสารดังกล่าวในน้ำ 20 ลิตร (1 ปี๊บ) ควรเติมสารจับใบลงไปเล็กน้อย และอาจใส่สารป้องกันกำจัดโรคและแมลง ตามความจำเป็น ควรพ่นสัก 2 - 3 ครั้ง 5. ไม้ผลหรือไม้ยืนต้น ภายหลังน้ำท่วม มักจะหนีไม่พ้นปัญหาเรื่องรากเน่าและโคนเน่า เพราะรากต้องอยู่ในน้ำเป็นเวลานานๆ ทำให้ขาดออกซิเจน (อากาศ) ดังนั้นเมื่อดินแห้งแล้วควรมีการพรวนดิน เพื่อเพิ่มออกซิเจนให้แก่รากพืช ทำให้รากพืชแตกใหม่ได้ดีขึ้น 6. ในพืชที่ที่มีปัญหาของโรครากเน่า และโคนเน่า ที่เกิดจากเชื้อรา หลังจากน้ำลดแล้วหากพืชยังมีชีวิตอยู่ ให้ราดโคนต้นพืช หรือทาด้วยสารเคมีกันรา เช่น เมตาแลคซิล หรือ ฟอสเอทิล- อลูมินั่ม (อาลิเอท) (กรณีเกิดแผลที่โคนต้นพืชจะถากเนื้อเยื่อพืชที่เสียออกแล้วทาด้วยสารเคมี) โดยสารเคมีดังกล่าวจะใช้กับอาการรากเน่า และโคนเน่าที่เกิดจากเชื้อราพิเที่ยม (Pythium spp. ) หรือไฟทอปธอรา (Phytophthora spp. )สำหรับโรครากเน่าและโคนเน่า ที่เกิดจากเชื้อราชนิดอื่นๆ เช่น เชื้อราฟูซาเรี่ยม (Fusarium spp. ) ไรซ็อกโทเนีย (Rhizoctonia spp. ) หรือสเคลอโรเที่ยม (Sclerotium spp. )